- This topic has 0 ข้อความตอบกลับ, 1 เสียง, and was last updated 2 years มาแล้ว by Attawaync.
กำลังดู 1 ข้อความ - 1 ผ่านทาง 1 (ของทั้งหมด 1)
-
ผู้เขียนข้อความ
-
betaglucan-mahoKeymaster
โรครูมาตอยด์ หรือโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ (Rheumatoid Arthritis) เป็นโรคเรื้อรังชนิดหนึ่ง ที่ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายสร้างสารขึ้นมา แล้วเกิดต่อต้านตัวมันเอง คล้ายลักษณะกับโรคลูปัสหรือเอสแอลอี แต่แตกต่างกันตรงที่โรครูมาตอยด์สารดังกล่าวไปต่อต้านอวัยวะที่สำคัญที่สุดก็คือข้อ โรคนี้พบได้บ่อยส่วนใหญ่จะพบในผู้ป่วยวัยกลางคน และพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โรครูมาตอยด์เป็นได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย และเป็นได้เกือบทุกอายุ แต่ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะเป็นผู้หญิง อายุ 30-40 ปี สถิติของผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้ในประเทศไทย พบประมาณ 1 ใน 100 คน ในประเทศสหรัฐอเมริกาพบผู้ป่วย โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ร้อยละ ของประชากร ผู้ป่วยบางรายปวดมาเป็นปีแล้วเพึ่งมาตรวจ จนกระทั่งโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์กินเข้าไปในเนื้อกระดูก ทำให้ข้อหงิกงอผิดรูป
อาการของโรครูมาตอยด์
–ผู้ป่วยมีอาการปวดตามข้อ เช่น ข้อมือ ข้อเข่า ข้อเท้า และข้อนิ้วเท้า และมีการอักเสบร่วมด้วย การบวมของข้อ หรือแดงร้อนได้ หรือแค่อุ่นๆ จะรู้สึกได้
–ผู้ป่วยจะมีอาการข้อขัดในเวลาเช้า
–กำมือ หรือเหยียดมือไม่ค่อยได้
–ถ้ารุนแรง กระดูกถูกทำลายไปแล้วถืงขั้นกระดูกหงิกงอ มีการเติบโตของเยื่อบุข้ออย่างมาก เยื่อบุข้อนี้จะลุกลามและทำลายกระดูกและข้อในที่สุด
–บางรายอาจมีไข้ เบื่ออาหาร และน้ำหนักลดร่วมด้วยได้ ในรายที่มีอาการรุนแรงอาจมีอาการทางระบบตา ปอด และมีปุ่มขึ้นตามตัวได้
สาเหตุของโรครูมาตอยด์
–โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ เป็นโรคออโตอิมมูนชนิดหนึ่ง หรือที่เรียกว่าโรคภูมิแพ้เนื้อเยื่อตัวเอง ผู้ป่วยมีการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันที่ผิดปกติ โดยเม็ดเลือดขาวสร้างแอนติบอดีต่อเนื้อเยื่อของตนเอง ตัวอย่างคือแอนติบอดีทีมีชื่อเรียกว่า “รูมาตอยด์ แฟคเตอร์”
–ปัจจัยทางพันธุกรรม ยีนหลายชนิดเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ อาทิเช่น HLA-DR4 ซึ่งพบมากถึงสองในสามของผู้ป่วยโรคนี้
–การติดเชื้อโรคบางชนิด พบว่าโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อบางอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการติดเชื้อไวรัส ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสารพันธุกรรมในเซลล์ของผู้ป่วย ปัจจุบันมีการศึกษาเรื่องนี้อย่างกว้างขวางและจะนำมาซึ่งแนวทางการบำบัดรักษาโรคนี้ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
–เพศ ผู้หญิงเป็นโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์มากกว่าผู้ชายหลายเท่า และเมื่อเวลาตั้งครรภ์ อาการของโรคมักจะสงบ หลังคลอดบุตรในช่วงปีแรก อาการของโรคจะกลับมารุนแรงได้อีกครั้ง เชื่อว่าอาจเป็นผลมาจากระดับฮอร์โมนในร่างกายที่เปลี่ยนแปลง
–ปัจจัยจากสภาพแวดล้อม พบว่าการสูบบุหรี่เพิ่มความเสี่ยงที่จะเกิดโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ ส่วนการดื่มชากาแฟ ไม่เพิ่มความเสี่ยงที่จะเป็นโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
–ทฤษฎีใหม่เกี่ยวกับกลไกการเกิดโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ พบว่าโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ ไม่ได้เป็นโรคๆ เดียว แต่เป็นกลุ่มของโรคที่ก่อให้เกิดลักษณะอาการที่เหมือน ๆ กัน ดังนั้นจึงไม่สามารถอธิบายสาเหตุของโรคที่แน่ชัดได้
แนวทางการรักษาโรครูมาตอยด์
การรักษาโรคเพื่อระงับอาการเจ็บปวด ลดการอักเสบ ลดการทำลายของข้อ และช่วยให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น สมัยนี้มีการรักษาที่ดี ลดการอักเสบ ลดการบวม ลดการปวด ลดการผ่าตัดข้อลงไปได้มากยาที่ใช้ในการรักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
–ยาแอสไพรินและยาต้านการอักเสบชนิดไม่ใช่สเตียรอยด์ ยากลุ่มนี้จะลดความเจ็บปวดและลดการอักเสบ แต่ไม่สามารถยับยั้งการทำลายข้อได้ ผู้ป่วยแต่ละรายจะตอบสนองต่อยาแตกต่างกันออกไป ยาเหล่านี้อาจมีผลข้างเคียงทางด้านระบบทางเดินอาหารและระบบไตได้
–ถ้าโรครุนแรงมีอาการมากและข้อถูกทำลายมาก แพทย์อาจพิจารณาใช้ยาอีกกลุ่มหนึ่งที่เรียกว่ายาระดับที่ 2 ซึ่งได้แก่ ยาต้านมาลาเรีย ยาทอง ยาเมทโธเทรกเซท ยาซัลฟาซาลาซีน เป็นต้น ยาเหล่านี้ไม่มีฤทธิ์ในการระงับการเจ็บปวด แต่จะช่วยระงับการลุกลามของโรคได้
–ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ เป็นยาที่มีผู้นำเอามาใช้ในการรักษาโรครูมาตอยด์เป็นเวลานานแล้ว เนื่องจากยานี้มีคุณสมบัติในการระงับการอักเสบของข้อได้ แต่จากการศึกษาในระยะหลัง ๆ พบว่ายาชนิดนี้ไม่ได้ไปเปลี่ยนแปลงการดำเนินของโรคเลย แต่เมื่อใช้ยานี้ไปนาน ๆ ผู้ป่วยจะติดยาและไม่สามารถเลิกยาได้ พร้อมทั้งเกิดภาวะแทรกซ้อนจากยาชนิดนี้มากมาย เช่น อ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตาเป็นต้อกระจก กล้ามเนื้ออ่อนแรง และกระดูกผุ เป็นต้น จึงไม่ควรเป็นอย่างยิ่งในการนำยานี้มาใช้รักษาผู้ป่วยโรครูมาตอยด์ ยกเว้นในรายที่มีอาการรุนแรงและไม่สามารถรักษาด้วยยาชนิดอื่นแล้ว และควรดูแลควบคุมด้วยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น
–ยาชีวภาพ ที่ออกฤทธิ์ยับยั้งกระบวนการทางระบบภูมิคุ้มกันที่ทำให้เกิดการอักเสบในโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์โดยตรง ได้แก่ enbrel, remicade, humira, kineret ยากลุ่มนี้มีประสิทธิภาพสูงและออกฤทธิ์โดยตรงกว่ายากลุ่ม DMARDs แต่มีราคาสูงมาก ปัจจุบันมีการนำมาใช้รักษาผู้ป่วยที่ตอบสนองไม่ดีต่อการรักษาด้วยยากลุ่ม DMARDs
การรักษาโรครูมาตอยด์ ด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัด จะมีบทบาทในการรักษาโรครูมาตอยด์ ในกรณีที่ข้อถูกทำลายไปมากแล้ว หรือกรณีที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เอ็นขาด เป็นต้น การผ่าตัดซ่อมแซมหรือเปลี่ยนข้อจะช่วยให้ข้อทำงานได้ดีขึ้น นอกจากนี้ในรายที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยยาอย่างเต็มที่แล้ว แต่ยังมีข้อที่อักเสบเรื้อรังอยู่ 1-2 ข้อ ก็อาจพิจารณาผ่าตัดเลาะเยื่อบุข้อที่หนสตัวออก ร่วมกับการใช้ยา ในรายที่ข้อพิการไปมากแล้ว โดยเฉพาะข้อใหญ่ๆ เช่น ข้อเข่า หรือข้อสะโพก ทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้ตามปกติ ก็อาจพิจารณาเปลี่ยนข้อเทียม ผ่าตัดแก้ไขความพิการที่เกิดขึ้นการรักษาทางเลือก
เบต้ากลูแคน จะช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันร่างกาย โรครูมาตอยด์เกิดจากการทำงานผิดพลาดของระบบภูมิคุ้มกัน เม็ดเลือดขาวไปกัดกินตามข้อทำให้เกิดข้ออักเสบและปวดบวม เบต้ากลูแคนจะลดการอักเสบ และทำให้เม็ดเลือดขาวทำงานไม่ผิดเพี้ยน กระตุ้นการทำงานของระบบในร่างกายให้รักษาตัวเองตามธรรมชาติ หากช่วงแรกๆที่ทานอาจจะมีอาการปวดกว่าเดิมให้ทานยาหมอร่วมด้วยอาการจะดีขึ้นเองตามลำดับ ข้อมูลเบต้ากลูแคนเพิ่มเติมที่ >> มะโฮ เบต้ากลูแคนจากยีสต์ดำ <<
การรับประทานเบต้ากลูแคน และ package แนะนำ สำหรับผู้ป่วยโรครูมาตอยด์
คอร์สรักษาโรครูมาตอยด์ แนะนำเริ่มต้น package Silver ครับ 10,000 บาท มี 4 กล่อง(แยก 10 ซอง) ให้ทานวันละ 3 ซองหรือมากกว่า แนะนำให้ทานติดต่อกันอย่างน้อย 2 เดือน หลังจากอาการดีขึ้นแล้ว ให้ทานวันเว้นวัน หรือสัปดาห์ละ 2 ครั้ง ได้ครับ ข้อมูลเพิ่มเติมสอบถามได้ครับ O94-612-2800 คุณโอห์ม LINE ID: betaglucan-maho
-
ผู้เขียนข้อความ
-
ผู้เขียนข้อความ
-
โรครูมาตอยด์ หรือโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ (Rheumatoid Arthritis) เป็นโรคเรื้อรังชนิดหนึ่ง ที่ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายสร้างสารขึ้นมา แล้วเกิดต่อต้านตัวมันเอง คล้ายลักษณะกับโรคลูปัสหรือเอสแอลอี แต่แตกต่างกันตรงที่โรครูมาตอยด์สารดังกล่าวไปต่อต้านอวัยวะที่สำคัญที่สุดก็คือข้อ โรคนี้พบได้บ่อยส่วนใหญ่จะพบในผู้ป่วยวัยกลางคน และพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โรครูมาตอยด์เป็นได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย และเป็นได้เกือบทุกอายุ แต่ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะเป็นผู้หญิง อายุ 30-40 ปี สถิติของผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้ในประเทศไทย พบประมาณ 1 ใน 100 คน ในประเทศสหรัฐอเมริกาพบผู้ป่วย โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ร้อยละ ของประชากร ผู้ป่วยบางรายปวดมาเป็นปีแล้วเพึ่งมาตรวจ จนกระทั่งโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์กินเข้าไปในเนื้อกระดูก ทำให้ข้อหงิกงอผิดรูป
อาการของโรครูมาตอยด์
–ผู้ป่วยมีอาการปวดตามข้อ เช่น ข้อมือ ข้อเข่า ข้อเท้า และข้อนิ้วเท้า และมีการอักเสบร่วมด้วย การบวมของข้อ หรือแดงร้อนได้ หรือแค่อุ่นๆ จะรู้สึกได้
–ผู้ป่วยจะมีอาการข้อขัดในเวลาเช้า
–กำมือ หรือเหยียดมือไม่ค่อยได้
–ถ้ารุนแรง กระดูกถูกทำลายไปแล้วถืงขั้นกระดูกหงิกงอ มีการเติบโตของเยื่อบุข้ออย่างมาก เยื่อบุข้อนี้จะลุกลามและทำลายกระดูกและข้อในที่สุด
–บางรายอาจมีไข้ เบื่ออาหาร และน้ำหนักลดร่วมด้วยได้ ในรายที่มีอาการรุนแรงอาจมีอาการทางระบบตา ปอด และมีปุ่มขึ้นตามตัวได้
สาเหตุของโรครูมาตอยด์
–โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ เป็นโรคออโตอิมมูนชนิดหนึ่ง หรือที่เรียกว่าโรคภูมิแพ้เนื้อเยื่อตัวเอง ผู้ป่วยมีการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันที่ผิดปกติ โดยเม็ดเลือดขาวสร้างแอนติบอดีต่อเนื้อเยื่อของตนเอง ตัวอย่างคือแอนติบอดีทีมีชื่อเรียกว่า “รูมาตอยด์ แฟคเตอร์”
–ปัจจัยทางพันธุกรรม ยีนหลายชนิดเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ อาทิเช่น HLA-DR4 ซึ่งพบมากถึงสองในสามของผู้ป่วยโรคนี้
–การติดเชื้อโรคบางชนิด พบว่าโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อบางอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการติดเชื้อไวรัส ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสารพันธุกรรมในเซลล์ของผู้ป่วย ปัจจุบันมีการศึกษาเรื่องนี้อย่างกว้างขวางและจะนำมาซึ่งแนวทางการบำบัดรักษาโรคนี้ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
–เพศ ผู้หญิงเป็นโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์มากกว่าผู้ชายหลายเท่า และเมื่อเวลาตั้งครรภ์ อาการของโรคมักจะสงบ หลังคลอดบุตรในช่วงปีแรก อาการของโรคจะกลับมารุนแรงได้อีกครั้ง เชื่อว่าอาจเป็นผลมาจากระดับฮอร์โมนในร่างกายที่เปลี่ยนแปลง
–ปัจจัยจากสภาพแวดล้อม พบว่าการสูบบุหรี่เพิ่มความเสี่ยงที่จะเกิดโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ ส่วนการดื่มชากาแฟ ไม่เพิ่มความเสี่ยงที่จะเป็นโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
–ทฤษฎีใหม่เกี่ยวกับกลไกการเกิดโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ พบว่าโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ ไม่ได้เป็นโรคๆ เดียว แต่เป็นกลุ่มของโรคที่ก่อให้เกิดลักษณะอาการที่เหมือน ๆ กัน ดังนั้นจึงไม่สามารถอธิบายสาเหตุของโรคที่แน่ชัดได้
แนวทางการรักษาโรครูมาตอยด์
การรักษาโรคเพื่อระงับอาการเจ็บปวด ลดการอักเสบ ลดการทำลายของข้อ และช่วยให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น สมัยนี้มีการรักษาที่ดี ลดการอักเสบ ลดการบวม ลดการปวด ลดการผ่าตัดข้อลงไปได้มากยาที่ใช้ในการรักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
–ยาแอสไพรินและยาต้านการอักเสบชนิดไม่ใช่สเตียรอยด์ ยากลุ่มนี้จะลดความเจ็บปวดและลดการอักเสบ แต่ไม่สามารถยับยั้งการทำลายข้อได้ ผู้ป่วยแต่ละรายจะตอบสนองต่อยาแตกต่างกันออกไป ยาเหล่านี้อาจมีผลข้างเคียงทางด้านระบบทางเดินอาหารและระบบไตได้
–ถ้าโรครุนแรงมีอาการมากและข้อถูกทำลายมาก แพทย์อาจพิจารณาใช้ยาอีกกลุ่มหนึ่งที่เรียกว่ายาระดับที่ 2 ซึ่งได้แก่ ยาต้านมาลาเรีย ยาทอง ยาเมทโธเทรกเซท ยาซัลฟาซาลาซีน เป็นต้น ยาเหล่านี้ไม่มีฤทธิ์ในการระงับการเจ็บปวด แต่จะช่วยระงับการลุกลามของโรคได้
–ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ เป็นยาที่มีผู้นำเอามาใช้ในการรักษาโรครูมาตอยด์เป็นเวลานานแล้ว เนื่องจากยานี้มีคุณสมบัติในการระงับการอักเสบของข้อได้ แต่จากการศึกษาในระยะหลัง ๆ พบว่ายาชนิดนี้ไม่ได้ไปเปลี่ยนแปลงการดำเนินของโรคเลย แต่เมื่อใช้ยานี้ไปนาน ๆ ผู้ป่วยจะติดยาและไม่สามารถเลิกยาได้ พร้อมทั้งเกิดภาวะแทรกซ้อนจากยาชนิดนี้มากมาย เช่น อ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตาเป็นต้อกระจก กล้ามเนื้ออ่อนแรง และกระดูกผุ เป็นต้น จึงไม่ควรเป็นอย่างยิ่งในการนำยานี้มาใช้รักษาผู้ป่วยโรครูมาตอยด์ ยกเว้นในรายที่มีอาการรุนแรงและไม่สามารถรักษาด้วยยาชนิดอื่นแล้ว และควรดูแลควบคุมด้วยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น
–ยาชีวภาพ ที่ออกฤทธิ์ยับยั้งกระบวนการทางระบบภูมิคุ้มกันที่ทำให้เกิดการอักเสบในโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์โดยตรง ได้แก่ enbrel, remicade, humira, kineret ยากลุ่มนี้มีประสิทธิภาพสูงและออกฤทธิ์โดยตรงกว่ายากลุ่ม DMARDs แต่มีราคาสูงมาก ปัจจุบันมีการนำมาใช้รักษาผู้ป่วยที่ตอบสนองไม่ดีต่อการรักษาด้วยยากลุ่ม DMARDs
การรักษาโรครูมาตอยด์ ด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัด จะมีบทบาทในการรักษาโรครูมาตอยด์ ในกรณีที่ข้อถูกทำลายไปมากแล้ว หรือกรณีที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เอ็นขาด เป็นต้น การผ่าตัดซ่อมแซมหรือเปลี่ยนข้อจะช่วยให้ข้อทำงานได้ดีขึ้น นอกจากนี้ในรายที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยยาอย่างเต็มที่แล้ว แต่ยังมีข้อที่อักเสบเรื้อรังอยู่ 1-2 ข้อ ก็อาจพิจารณาผ่าตัดเลาะเยื่อบุข้อที่หนสตัวออก ร่วมกับการใช้ยา ในรายที่ข้อพิการไปมากแล้ว โดยเฉพาะข้อใหญ่ๆ เช่น ข้อเข่า หรือข้อสะโพก ทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้ตามปกติ ก็อาจพิจารณาเปลี่ยนข้อเทียม ผ่าตัดแก้ไขความพิการที่เกิดขึ้นการรักษาทางเลือก
เบต้ากลูแคน จะช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันร่างกาย โรครูมาตอยด์เกิดจากการทำงานผิดพลาดของระบบภูมิคุ้มกัน เม็ดเลือดขาวไปกัดกินตามข้อทำให้เกิดข้ออักเสบและปวดบวม เบต้ากลูแคนจะลดการอักเสบ และทำให้เม็ดเลือดขาวทำงานไม่ผิดเพี้ยน กระตุ้นการทำงานของระบบในร่างกายให้รักษาตัวเองตามธรรมชาติ หากช่วงแรกๆที่ทานอาจจะมีอาการปวดกว่าเดิมให้ทานยาหมอร่วมด้วยอาการจะดีขึ้นเองตามลำดับ ข้อมูลเบต้ากลูแคนเพิ่มเติมที่ >> มะโฮ เบต้ากลูแคนจากยีสต์ดำ <<
การรับประทานเบต้ากลูแคน และ package แนะนำ สำหรับผู้ป่วยโรครูมาตอยด์
คอร์สรักษาโรครูมาตอยด์ แนะนำเริ่มต้น package Silver ครับ 10,000 บาท มี 4 กล่อง(แยก 10 ซอง) ให้ทานวันละ 3 ซองหรือมากกว่า แนะนำให้ทานติดต่อกันอย่างน้อย 2 เดือน หลังจากอาการดีขึ้นแล้ว ให้ทานวันเว้นวัน หรือสัปดาห์ละ 2 ครั้ง ได้ครับ ข้อมูลเพิ่มเติมสอบถามได้ครับ O94-612-2800 คุณโอห์ม LINE ID: betaglucan-maho
-
ผู้เขียนข้อความ
กำลังดู 1 ข้อความ - 1 ผ่านทาง 1 (ของทั้งหมด 1)